ตัววิ่ง

....ยินดีต้อนรับสู่บล็อกของนางสาวสุนิศา ยังมาก....

วันจันทร์ที่ 9 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ของแข็ง ของเหลว แก๊ส

สมบัติของของแข็ง
              1. ปริมาตรคงที่ไม่ขึ้นอยู่กับขนาดภาชนะที่บรรจุ
              2. มีรูปร่างคงที่ไม่เปลี่ยนแปลงตามรูปร่างของภาชนะ
              3. มีอนุภาคอยู่ชิดติดกันอย่างมีระเบียบ

              4. สามารถระเหิ อ่านเพิ่มเติม

ปริมาณสัมพันธ์

 คือ ความสัมพันธ์ระหว่างมวลหรือน้ำหนักของธาตุต่าง ๆ ของสารประกอบในปฏิกิริยาเคมี ปริมาณสารสัมพันธ์มีประโยชน์ในแง่ของการคาดคะเนปริมาณของสารที่ต้องใช้เป็นสารตั้งต้นเพื่อให้เกิดผลิตภัณฑ์ที่ต้องการ อ่านเพิ่มเติม

สมบัติของธาตุและสารประกอบ

 การเกิดและสมบัติของสารประกอบคลอไรด์ ออกไซด์ของธาตุในคาบที่ 2 และคาบที่ 3 สรุปได้ดังนี้
                1. เนื่องจากในคาบเดียวกันประกอบด้วยโลหะ( ทางซ้าย ) กึ่งโลหะ และอโล อ่านเพิ่มเติม

พันธะเคมี

   ในชีวิตประจำวันทั่วๆไปจะพบว่าสารชนิดหนึ่งๆมักจะอยู่รวมกันเป็นกลุ่มก้อนและเมื่อต้องการทำให้แยกออกจากกันจะต้องใช้พลังงานจำนวนหนึ่งตัวอย่างเช่น

1. เมื่อให้ความร้อนแก่สารจนกระทั่งโมเลกุลของสารมีพลังงานสูงพอจะทำให้ อ่านเพิ่มเติม

อะตอมและตารางธาตุ

ในสมัยโบราณมีนักปราชญ์ชาวกรีกชื่อ ดิโคริตุส (Democritus) เชื่อว่าเมื่อย่อยสารลงเรื่ออย ๆ จะได้ส่วนที่เล็กที่สุดซึ่งไม่สามารถทำให้เล็กลงกว่าเดิมได้อีก และเรียกอนุภาคขนาดเล็กที่สุดว่า อะตอม ซึ่งคำว่า "อะตอม"(atom)เป็นคำซึ่งมาจากภาษากรีกว่า (atomas) แป อ่านเพิ่มเติม

วันอังคารที่ 13 มกราคม พ.ศ. 2558

เฉลยแบบฝึกหัด

 โจทย์ข้อ 1. ฟอสฟอรัส (P) 1 โมเลกุล มี 4 อะตอม ถ้ามวลโมเลกุลของฟอสฟอรัสเท่ากับ 123.8952    จงหามวลอะตอมของฟอสฟอรัส
                                   123.8952            =          (  มวลอะตอม × 4  )
                                   123.8952 / 4      =           มวลอะตอม
                                         30.97            =          มวลอะตอม 
                                            31              =          มวลอะตอม
ตอบ         31 มวลอะตอม

   โจทย์ข้อ 2. จงหาจำนวนโมลและปริมาตรที่ STP ของแก๊สแอมโมเนีย (NH3) จำนวน 34.0 กรัม
              หาโมล                                                     หาปริมาตร              
              n =   34/17                                               2      =   v/22.4
                  =   2                                                     44.8   =   v
ตอบ โมล 2 mol   ปริมาตร 44.8 dm3

   โจทย์ข้อ 3. กำหนดให้จุดเดือดของคาร์บอนไดซัลไฟด์บริสุทธิ์ (CS2) เท่ากับ 46.30 องศาเซลเซียส และมีค่าคงที่ของการเพิ่มขึ้นของจุดเดือด (Kb) เท่ากับ 2.34 องศาเซลเซียสต่อโมแลล จงคำนวณหาความเข้มข้นเป็นโมแลลของสารละลายซัลเฟอร์ในคาร์บอนไดซัลไฟด์ เมื่อสารละลายมีจุดเดือดเท่ากับ 46.71 องศาเซลเซียส
                                             46.71 – 46.30     =    0.42m
                                                          0.41       =     2.34m
                                                            m         =    0.41/2.34
                                                                        =     0.175
  ตอบ    ความเข้มข้น 0.175 mol/kg